วันพุธที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556

Myself

My name is Warunee    Leeha. My nickname is Nee. I'm student in Faculty of  Education, Nakhon Si Thammarat Rajabhat University. Student Code: 5311114063. English 02.


วันพฤหัสบดีที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2556

วิชาวิธีสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ
สรุป

Towards Better Group Work: Seeing the Difference between Cooperation and Collaboration
การทำงานกลุ่มที่ดีกว่า : ความแตกต่างระหว่างความร่วมมือและการทำงานร่วมกัน                                                                                                      Olga  Kozar
เหตุผลที่ทำให้เขารู้สึกถึงความสำคัญของการเขียนบทความนี้คือ การที่ได้แบ่งปันบทเรียนที่เขาได้เรียนรู้ในขณะที่พยายามออกแบบกิจกรรมความร่วมมือ และถึงแม้ว่า ครั้งแรกจะไม่ผ่านแต่ครั้งที่สองก็เปลี่ยนไป ซึ่งกิจกรรมดูเหมือนจะยุ่งยากบ้าง มีเสียงดังบ้างและวุ่นวายบ้าง รวมทั้ง บางครั้งนักเรียนจะวิ่งไปมาจนทำให้เขาต้องบ่นไปบ้าง ซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ไม่เหมาะสม ซึ่งการทำงานด้วยความร่วมมือนี้จะทำให้นักเรียนได้เรียนรู้ทักษะต่างๆ มากมายและยังช่วยให้เด็กได้พัฒนาทักษะต่างๆ ได้อีกด้วย
ดังนั้น ถ้าจะแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูควรบอกนักเรียนทุกคนว่าจะต้องมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่มเพื่อที่งานกลุ่มจะได้ประสบผลสำเร็จและมีคุณภาพ รวมทั้งจะได้รับคะแนนที่ดีอีกด้วย และในที่สุดหลังจากการพยายามทำงาน นักเรียนก็เริ่มมีการพูดคุยและแบ่งปันความคิดเห็น และสุดท้ายพวกเขาก็มีความสุขที่ได้ทำงานร่วมกันเพื่อสร้างสิ่งใหม่ๆ
English Teaching  Forum  Volume 48  Number 2  2010


Top 12 Ways to Increase Student Participation

12 วิธีที่สุดยอดในการเพิ่มการมีส่วนร่วมของนักเรียน                       
สรุปได้ว่า มีสี่เหตุผลที่นักเรียนไม่เข้าร่วมในการศึกษา ลำดับแรก คือ เนื้อหา บางครั้งครูสอนซ้ำๆ เพราะว่านักเรียนไม่เข้าใจ วิธีแก้ไข คือ ครูควรถามนักเรียนก่อน ซึ่งถามนักเรียนก่อนซึ่งถามคำถามที่นักเรียนรู้ ลำดับที่สอง คือ เนื้อหายากเกินไป ครูควรให้นักเรียนทำงานร่วมกัน เพราะว่านักเรียนจะได้ทำงานร่วมกับเพื่อนๆ และพวกเขาก็มีความมั่นใจ ลำดับที่สาม คือ มีข้อมูลมาก แต่ไม่มีเวลา วิธีแก้ไขคือ ครูควรที่จะมีข้อมูลที่รัดกุม เมื่อนำเสนอแล้วจะไม่น่าเบื่อ สุดท้าย บทเรียนจะเน้นครูแต่ไม่เน้นนักเรียน ครูควรให้นักเรียนทำงานเป็นกลุ่มและให้พวกเขาออกเสียงและเลือกในการทำงาน
http://www.teachhub.com/top-12-ways-increase-student-participation?k12-news


Looking for the Big Picture: Macrostrategies for L2 Teacher Observation and Feedback   
ภาพรวมที่กำลังมองหา: กลยุทธ์ของคนทั่วไป/ร่วมกัน สำหรับการสังเกตการณ์ของครู L2 และคำติชม
Spencer  Salas  and  Leonardo   Mercado
สำหรับการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศยังต้องการหัวหน้าที่มีฐานความรู้และสามารถที่จะทำและมีคำถามเพียงเล็กน้อยที่ได้มาจากความรู้ในการวิจัยวรรณคดีหรือการปฏิบัติสำหรับการสอนและการเรียนรู้ พวกเขากล่าวว่า เราได้พยายามที่จะทำงานร่วมกันกับครูเพื่อที่จะมีประสบการณ์ เพื่อให้มีประสิทธิภาพและความสนใจที่มากที่สุดคือการพัฒนาครูอย่างยั่งยืน
English Teaching Forum  Volume 48  Number 4  2010


Consciousness-Raising and Prepositions

การระดมความคิดและคำบุพบท
Monica    Hendricks
ถ้าครูจะเป็นแบบอย่างที่ดีในการพูดภาษาอังกฤษในการฝึกอบรม ครูผู้สอนต้องให้ความสำคัญด้านความรู้ ความสามารถของครูภาษาอังกฤษให้ถูกต้องและให้มีข้อผิดพลาดน้อยที่สุดในภาษาอังกฤษของพวกเขา การระดมความคิดนี้เป็นสิ่งที่มีคุณค่าเพราะมันเป็นสิ่งที่น่าสนใจสำหรับครู และทำให้พวกเขาตระหนักถึงไวยากรณ์ที่ถูกละเลย ในการระดมความคิดครั้งนี้คือ ครูได้เรียนรู้ถึงวิธีการขยายกิจกรรมในห้องเรียนของเขา ไม่เพียงแต่ที่จะสอนเกี่ยวกับคำบุพบทอย่างเดียว แต่ยังต้องสอนในด้านอื่นๆ ของไวยากรณ์อีกด้วย
English Teaching Forum  Volume 48  Number 2  2010


วันจันทร์ที่ 13 สิงหาคม พ.ศ. 2555

http://www.englishclub.com/teach-english.htm
www.accreditat.com
INNOVATIVE EDUCATIONAL TECHNOLOGY
IN THE GLOBAL CLASSROOM

BY Deokson Kim

ต้องการสิ่งใหม่ๆ มีความคิดสร้างสรรค์ ต้องตามให้ทันนวัตกรรมใหม่ๆที่มันจะเกิด ครูต้องการมีการใช้เทคโนโลยีได้แก่ การอภิปรายแบบออนไลน์ อัพโหลดไฟล์เสียง หรือทำเป็นบล็อกก็ได้ ถ้าครูทำอย่างนี้ก็จะสามารถตามทัน
ผู้เขียนจะต้องใช้เทคโนโลยีใหม่ๆเข้ามาในการเรียนการสอนอยู่เสมอ ครูก็จะสามารถไปเป็นครูที่ดีและทันต่อเทคโนโลยีในปัจจุบันในอนาคตได้ และในอนาคตก็ยังมีแนวคิดใหม่ๆที่กำลังจะเกิด การวิเคราะห์ ที่จะสามารถทำให้ครูมีรูปแบบการสอนใหม่ๆที่หลากหลาย เราจะต้องมีทางเลือกใหม่ๆเพราะว่าครูจะต้องรู้เท่าทันเทคโนโลยีทางการศึกษา


Intergrating Instrucional Technology Into an Assignment
<!--[endif]-->
ครูจะบูรณาการเป็นชิ้นงานของนักเรียน
case study สะสมงาน ครูจะบูรณาการการทำ blog กับ wiki
เพื่อจะกระตุ้นประสบการณ์เรียนรู้ให้ดีกว่าเดิม
เทคนิคที่จะทำให้รู้จักกับแนวคิดใหม่ๆ มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เขาจะได้รับเทคนิคเหล่านั้นในชั้นเรียน project ที่ครูให้นักเรียนทำจะต้องเป็นตัวอย่างที่ไม่กัดเวลา ไม่จำกัดเนื้อหา ให้มันดีขึ้นสำหรับครูและตัวเรียนเอง
เมื่อไรก็ตามที่ครูจะต้องมั่นใจว่าผู้เรียนจะต้องเรียนไดทั้งเทคโนโลยีและเนื้อหา
และเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมากที่จะต้องประเมิน
มีเทคโนโลยี 2 ประเภท
ได้แก่
1.เทคโนโลยีที่มีปฏิสัมพันธ์กัน
2.เทคโนโลยีมีการเคลื่อนไหวไม่เปลี่ยนแปลง
มีองค์ประกอบ
1.การศึกษากรณีศึกษาอังกฤษเป็น แฟ้มสะสมงานเป็นผลงานออกมา
2.เรียนรู้แล้วก็สร้าง Postcards
3.ทำให้มันเข้มแข็งขึ้น เช่น WiKi
ตลอดทั้ง คอสที่เรียน จะต้อง Discuss แบบ Online ตลอด
The ELL Case Study

ให้นักเรียนได้พูดคุยกันในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโรงเรียน มีโอกาสที่จะวิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อที่จะได้รับประสบการณ์ โดยครูสามารถจะสำรวจ พื้นฐาน ภาษา และวัฒนธรรม ครูจะพยายามจัดสถานการณ์ต่างๆให้สอดคล้องกัน จะช่วยให้สามารถแก้ปัญหากับผู้เรียนได้ ก็จะเป็นศูนย์กลางของข้อมูล ก็จะเข้าไปดูข้อมูลตรงนั้นได้ก็จะมีหลายขั้นตอน ดังนี้
A.เลือกก่อนว่าใครจะมาเป็น Case study ของเรา
-เลือก
-ศึกษาตัวอย่าง
B.เอาข้อมูลที่เราเก็บมาทำ
C.มีการวิเคราะห์ข้อมูลที่หลากหลาย
D.มาคิดว่าสถานการณ์ไหนที่เกี่ยวกัน
-สะท้อนความคิดแล้วเอาออกมา discuss กัน


Blogging

ครูเอา blog มาให้นักเรียนเขียน online jounrnals.เป็นการนำเสนอที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ หรือว่าข่าวต่างๆที่เรารับรู้ เมื่อผู้เรียนสร้าง blog แล้วผู้เรียนก็สามารถสร้าง Link ไปสู่ศูนย์กลางของข้อความก็จะสามารถอัพโหลดได้



Podcasting

เป็นโปรแกรมเสียงพร้อมสำหรับดาวน์โหลดผ่านทางคอมพิวเตอร์หรือMP4 เปิดโอกาสให้ครูได้รับรู้เกี่ยวกับการส่งข้อมูลแบบไหนๆได้ ไม่เพียงแค่ตอบสนองเพียงรายบุคคลเท่านั้น ยังแผ่ข้อมูลให้แก่ผู้ฟังในระดับที่สูงขึ้น จำนวนเท่าไรก็ได้ไม่จำกัด
-พวกเขาสามารถที่จะดาวน์โหลด Podcasting เกี่ยวกับคำศัพท์ใหม่ๆ เข้าไปในตัวการทำPodcasting


Creating a Wiki

สามารถทำWiki ผ่านทาง Blackbord.com จะมีการแนะนำ กลยุทธ์ในการสอน

<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
Online Discussion

ครูจะสามารถเข้าใจในความซับซ้อนของผู้เรียน พวกเขาจะต้องกระตุ้น โดยการอภิปรายและการแสดงความคิดเห็นก็จะใช้ Link เป็นช่องทางพูดคุยกันแลกเปลี่ยนกัน เราจะสามารถเป็นกลุ่มของเราได้หรือคนอื่นๆดูได้ เป็นหน้าต่างให้ได้สังเกตว่า ครูฝึกสอนมีองค์ความรู้อย่างไร


Implications

ข้อเสนอแนะในการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน
จะต้องมีการเคลื่อนไหวที่มีประสิทธิภาพ ครูจะได้พัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาผู้เรียนและประเด็นต่างๆ มีการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ที่มีจุดศูนย์กลางมีการสร้าง web pages และการประยุกต์ใช้ในบริบทการเรียนการสอนของตนเองมีการพึงพอใจในความรู้ที่ได้และเล็งเห็นผลประโยชน์ในอนาคต
ทักษะจะแตกต่างกันออกไป เมื่อพวกเขาได้เรียนแล้วก็จะค่อยๆพัฒนาในขณะที่ทำProject จะต้องให้ความสำคัญของลิขสิทธิ์ ความเป็นส่วนตัวด้วยโดยใช้นามแฝง เกิดขึ้นในห้องเรียนแต่ว่าความรู้จากการทำ case study online โดยการเอาเทคโนโลยีเข้าไป ต้องใช้มันอย่างต่อเนื่อง สอนอะไรก็ได้ที่พวกเขาต้องการ

TIP

1.ต้องเสี่ยงกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.ต้องคุ้นเคยกับเทคโนโลยีก่อนเอามาสอนคุณ
3.ต้องมั่นใจว่าเหมาะกับวัตถุประสงค์และกระบวนทีใช้ให้มันชัดเจนจะต้องสร้างสังคมการเรียนรู้ในทางที่ดี
4.นักเรียนที่เก่งจะต้องช่วยกัน
5.ต้องสืบค้น website ต่างๆในการใช้เทคโนโลยี
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->



IT (information technology)

IT (information technology) คือ เป็นคำศัพท์ที่รวมรูปแบบทั้งหมดของเทคโนโลยีที่ใช้สร้าง เก็บ แลกเปลี่ยน และใช้สารสนเทศในรูปแบบหลากหลาย (ข้อมูลทางธุรกิจ สนทนาทางเสียง ภาพ ภาพเคลื่อนไหว การนำเสนอแบบมัลติมีเดีย และรูปแบบอื่นๆ) ศัพท์คำนี้เข้าใจอย่างง่าย หมายถึงเทคโนโลยีโทรศัพท์และคอมพิวเตอร์ในคำเดียวกัน สิ่งนี้เป็นเทคโนโลยีที่กำลังขับเคลื่อนสิ่งที่เรียกว่า "การปฏิวัติสารสนเทศ"
http://www5dow.com/.com
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
ICT ( Information Communication Technology )

I : Information............. สารสนเทศ
C : Communication............... การสื่อสาร
T : Technology............................. การประยุกต์ความรู้
ICT หมายถึง เทคโนโลยี หรือกระบวนการต่างๆ ที่ร่วมกันสร้างสารสนเทศ (การรวบรวมข้อมูลที่ต้องการมาจัดเก็บ นำข้อมูลมาประมวลผล หรือวิเคราะห์ให้เป็น สารสนเทศ เรียกข้อมูลและสารสนเทศจากแหล่งอื่นๆ และส่งสารสนเทศ ในลักษณะที่ผู้ใช้ต้องการ ไปให้ผู้ใช้เมื่อต้องการอย่างรวดเร็ว) สนองความต้องการของผู้ใช้ โดยมุ่งให้ผู้ใช้ได้สารสนเทศที่มีคุณภาพดี (คือมีความถูกต้อง เชื่อถือได้ ครบถ้วน สมบูรณ์ ทันสมัย และตรงกับความต้องการ อย่างสะดวก รวดเร็ว ในรูปแบบต่างๆ ที่เหมาะสม) http://noomook-ict.exteen.com/20090801/ict-ict-1

CAI (Computer Assisted Instruction)

คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) หรือ (CAI)คือสื่อที่ใช้ในการเรียนการสอนอันหนึ่ง CAI คล้ายกับสื่อการสอนอื่น ๆ เช่น วิดีโอช่วยสอน บัตรคำช่วยสอน โปสเตอร์ แต่คอมพิวเตอร์ช่วยสอนจะดีกว่าตรงที่ตัวสื่อการสอน ซึ่งก็คือคอมพิวเตอร์นั้น สามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้ ไม่ว่าจะเป็นการรับคำสั่งเพื่อมาปฏิบัติ ตอบคำถามหรือไม่เช่นนั้นคอมพิวเตอร์ก็จะเป็นฝ่ายป้อนคำถาม (นัยนา เอกบูรณวัฒน์, 2539)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI : Computer Assisted Instruction) หมายถึง การประยุกต์นำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียนการสอน โดยมีการพัฒนาโปรแกรมขึ้นเพื่อนำเสนอเนื้อหาในรูปแบบต่าง ๆ เช่น
การเสนอแบบติวเตอร์ (Tutorial)

แบบจำลองสถานการณ์ (Simulations)

แบบการแก้ไขปัญหา (Problem Solving) เป็นต้น
16649.htmlhttp://www.baanmaha.com/community/thread

<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
CALL ( Computer-assisted language learning)

โปรแกรมช่วยเรียนภาษาโดยเฉพาะ ใช้ได้ทั้งกับการเรียนในห้องเรียน โดยมีผู้สอนเป็นผู้ควบคุมดูแลกระบวนการเรียนและการให้ผู้เรียนเรียนจากโปรแกรมด้วยตนเองที่ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-access learning center) หรือที่ศูนย์คอมพิวเตอร์และสำหรับสถานศึกษาทีมีความพร้อมก็อาจมอบแผ่นโปรแกรมให้ผู้เรียนนำไปใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์นอกสถานศึกษาโดยผ่านโมเด็มและสายโทรศัพท์

http://piyaman-529.blogspot.com/2011/01/call-computer-assisted-language.html

WBI (  Web - Based Instruction )

การเรียนการสอนผ่านเว็บเป็นการจัดสภาพการเรียนการสอนที่ได้รับการออกแบบอย่างมีระบบ โดยอาศัยคุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด์ไวด์เว็บ มาเป็นสื่อกลางในการถ่ายทอดเพื่อส่งเสริมสนับสนุนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพโดยอาจจัด เป็นการเรียนการสอนทั้งกระบวนการหรือนำมาใช้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของกระบวนการทั้งหมดและช่วยขจัดปัญหาอุปสรรคของการเรียนการสอนทางด้านสถานที่และเวลาอีกด้วย
http://student.nu.ac.th/fon/wbi.htm

CBI ( Computer  Based Instruction )

คำที่ใช้เรียกคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งคล้ายกับ CAI คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง การประยุกต์นำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเรียนการสอน โดยมีการพัฒนาบทเรียน (Courseware) ขึ้นเพื่อเสนอเนื้อหาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ในรูปแบบสื่อประสมคือ ข้อความภาพกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และเสียง การเสนอเนื้อหาดังกล่าวเป็นการเสนอโดยตรงไปยังผู้เรียนผ่านทางจอภาพหรือแป้นพิมพ์ บทเรียนจะถูกจัดเก็บไว้ในแผ่นดิสก์หรือหน่วยความจำของเครื่องพร้อมที่จะเรียกใช้ได้ตลอดเวลา ผู้เรียนจะต้องโต้ตอบหรือตอบคำถามเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยการพิมพ์ การตอบคำถามจะถูกประเมินโดยคอมพิวเตอร์และจะเสนอแนะขั้นตอนหรือระดับในการเรียนขั้นต่อ ๆ ไป กระบวนการเหล่านี้เป็นปฏิสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์
http://www.edu.nu.ac.th/supanees/lesson/366515/unit5_p04.html


CMC (Computer Mediated Communication )

ปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทต่อการดำรงชีวิตประจำวันตั้งแต่ปัจจัย 4 ซึ่งเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตไม่ว่าจะเป็นอาหาร เสื้อผ้า เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย จนไปถึงสิ่งต่างๆรอบตัวล้วนแล้วแต่มีเทคโนโลยีเข้ามาเกี่ยวข้อง และเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตคนในยุคนี้อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อีกบทบาทที่สำคัญของเทคโนโลยีต่อการดำรงชีวิตในปัจจุบันคือบทบาททางการสื่อสาร Computer Mediated Communication (CMC) หรือการสื่อสารโต้ตอบปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับเทคโนโลยี หรือการสื่อสารทางคอมพิวเตอร์ ซึ่งวิกิพีเดียร์ให้ความหมายว่า เป็นการสื่อสารระหว่างบุคคล โดยผ่านคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองตัวขึ้นไป ผ่าน network หรือผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยเริ่มจากการติดต่อในลักษณะของตัวอักษรเป็นหลักในรูปแบบต่างๆ เช่น Instant Messages, E-mail, Chatroom
http://somzom.wordpress.com/2010/02/25/computer-mediated-communication-cmc-2/


 .....On The  Problem.....

ความจำเป็นของการใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ
A.) การปลูกฝังความสนใจของนักเรียนในการเรียน
ในปัจจุบันนี้ใช้วิธีการสอนที่ล้าสมัยและสภาพแวดล้อมที่จำเจ ในขณะที่เทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีระบบเสียง, ภาพ, ภาพเคลื่อนไหว ช่วยกระตุ้นความสนใจของนักเรียนทำให้ได้รับข่าวสารที่มากขึ้นและสืบค้นข้อมูลได้เป็นอย่างดี ทำให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน


B.) ส่งเสริมความสามารถการสื่อสารของนักเรียน
การเรียนการสอนแบบเก่าๆเป็นปกติที่จะทำให้นักเรียนเข้าใจตัวภาษา ยากที่จะบรรลุเป้าหมายในการสื่อสารกับครูที่ให้คำแนะนำกับนักเรียนรูปแบบการ คิดและการสร้างแรงจูงใจอารมณ์ของนักเรียน, เทคโนโลยีมัลติมีเดียได้ช่วยส่งเสริมความต้องการของผู้เรียน บูรณาการการเรียนการสอนและให้นักเรียนเกิดแรงจูงใจมากขึ้น. บทเรียน PPTใน การสอนภาษาอังกฤษของมหาวิทยาลัยสามารถเปิดใช้งานการคิดของนักเรียน กิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การสนทนากลุ่มอภิปรายเรื่องและการอภิปราย ยังสามารถให้โอกาสในการสื่อสารในหมู่นักเรียนและระหว่างครูกับนักเรียน การเรียนการสอนเทคโนโลยีมัลติมีเดียเพื่อให้มีแรงบันดาลใจในการเรียน ความคิดเชิงบวกของนักเรียนและทักษะการสื่อสารทางสังคม

C.) เพื่อขยายความรู้ของของนักเรียนเพื่อให้เข้าใจลึกซึ้งถึงวัฒนธรรมตะวันตก

บทแผ่นดิสก์ มัลติมีเดียสามารถนำเสนอข้อมูลของนักเรียนได้มากมายมีการครอบคลุมภาษาอังกฤษมัลติมีเดียกว้างไกลกว่าตำราด้วยเนื้อหาและวัสดุมีชีวิตจริงซึ่งมีมากตามธรรมชาติและใกล้กับชีวิต ผู้เรียนสามารถพัฒนาความสามารถในการฟังของพวกเขา และยังได้เรียนรู้วัฒนธรรมตะวันตก การรู้ข้อมูลผ่านช่องทางต่างๆสามารถจัดให้นักเรียนมีความรู้และนำมาเกี่ยว กับข้อมูลร่วมกันในหมู่นักศึกษาและทำให้พวกเขามีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้น เรียนและการสื่อสาร

D.) การปรับปรุงผลการเรียนการสอน

เสริมสร้างการเรียนการสอนมัลติมีเดียการเรียนการสอนเนื้อหาและรูปแบบการแบ่ง "ครูเป็นศูนย์กลาง" การเรียนการสอนและพื้นฐานการปรับปรุงประสิทธิภาพการเรียน มันเป็นเรื่องธรรมดามากที่นักเรียนของพวกเรามีชั้นเรียนภาษาอังกฤษในห้องเรียนขนาดใหญ่มากยังหนาแน่น ภายใต้สถานการณ์ดังกล่าวจึงเป็นเรื่องยากสำหรับนักเรียนที่จะมีการพูดสื่อสารรูปแบบการสอนแบบดั้งเดิม  ส่วนใหญ่เน้นการเรียนการสอนเกี่ยวกับครูและให้ ข้อมูลที่ถูกจำกัดที่ตรงกันข้ามเทคโนโลยีมัลติมีเดียไปเกินเวลาและพื้นที่สร้างขึ้นสดใส, ภาพ, สภาพแวดล้อมที่แท้จริงสำหรับการเรียนรู้ภาษาอังกฤษจะช่วยกระตุ้นความคิดริเริ่มของนักเรียนและประหยัดเวลาในชั้นเรียน


การวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียเพื่อการสอนภาษาอังกฤษ
A.) ความหมายหลักแทนที่ด้วยการช่วยเหลือแบบหนึ่ง

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียเป็นเครื่องมือที่ให้ความช่วยเหลือ เพื่อให้บรรลุผลการเรียนการสอนที่คาดการณ์ขึ้นอยู่กับอุปกรณ์มัลติมีเดียใน ระหว่างการเรียนการสอนครูผู้สอนมากเกินไปทำให้ครูไม่มีบทบาทในการสอน ในทางปฏิบัติของครูมีการใช้งานในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดียเพื่อ ให้พวกเขามีส่วนร่วมมากในการค้นหาข้อมูลและการทำงานออกบทเรียน ในชั้นเรียนที่พวกเขาใช้คอมพิวเตอร์นักเรียนจะสนใจบนหน้าจอของพวกเขาเท่า นั้น ดังนั้นครูและนักเรียนจึงไม่มีสายตาระหว่างกัน ด้วยเหตุนี้ความคิดของการศึกษาความคิดสร้างสรรค์ควรจะเข้าใจอย่างเต็มที่ว่า เทคนิคการศึกษาที่ทันสมัย​​ให้บริการที่ให้ความช่วยเหลือมากกว่าเป้าหมายและ ที่ไม่ควรครองชั้น ด้วยความช่วยเหลือของคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนครูควรจะใช้ประโยชน์อย่าง เต็มที่หลักสูตรทางด้านวิชาการและวัสดุการเรียนการสอนที่จะหาวิธีการมากความ รู้ของนักศึกษาของเราได้รับข้อมูลมัลติมีเดียควรจะน้อยลงและนำที่ดีขึ้นโดย เน้นที่โดดเด่นและนวัตกรรมใหม่ในการเรียนการสอน

B.) จะสูญเสียการสื่อสารโดยการพูด

การใช้สื่อมัลติมีเดียมากเกินไปทำให้ขาดปฏิสัมพันธ์ในชั้นเรียนและส่งผลให้การขาดการสื่อสารระหว่างครูและนักเรียนเสียงของครูจะถูกแทนที่ด้วยเสียงของคอมพิวเตอร์

C.) ทำให้ความสามารถในการคิดลดลง

การคิดและการชื่นชมในความสวยงามของภาษาอาจจะทำให้บรรยากาศของการเรียนเรียกว่า เรียนอย่างมีความสุข มัน ไม่เกิด เพราะฉะนั้นถึงแม้ว่า มัลติมีเดียจะมีบทบาทที่ดีในการเรียนการสอน แต่จุดประสงค์สำคัญของการเรียนการสอนเน้นให้ผู้เรียนได้คิด ซึ่งคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ต่างๆไม่สามารถที่จะแทนที่กระบวนการคิดของผู้เรียนได้

D.) ความคิดนามธรรมจะถูกแทนที่ด้วยความคิด  Imaginal

การสอนแบบดั้งเดิมเมื่อครูต้องการเล่าเรื่องครูจะสอนอะไร มันไม่มีมัลติมีเดียครูต้องอธิบายให้นักเรียนคิดจินตนาการตามไปว่าสิ่งนั้น คืออะไร แต่มัลติมีเดียปัจจุบันการเรียนการสอนง่าย ทุกอย่างเห็นภาพชัดเจน ความสามารถในการอ่านของผู้เรียนก็จะถูกแทนด้วยเสียงจากซีดีหรือจาก คอมพิวเตอร์ การเขียนของผู้เรียนถูกแทนที่ด้วยคีบอร์ดในการพิมพ์ เมื่อไหร่ก็ตามที่ใช้มัลติมีเดียให้สถานการณ์ก็จะเลวร้ายไปกว่าเดิม

มัลติมีเดียเป็นเครื่องมือที่ให้ความช่วยเหลือไม่สามารถแทนที่บทบาทที่โดด เด่นของครูผู้สอนและเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนการสอนที่สมบูรณ์ นอกจากจะไม่เลียนแบบช่างของการเรียนการสอนค่อนข้างจะรวมภาพต้นฉบับเดิม ประสบการณ์ในการสนับสนุนโครงการการเรียนการสอนโปรแกรมอัตโนมัติและต่อเนื่องเพื่อเพิ่มการปรับปรุงโดยรวมของนักเรียน การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน


ข้อเสนอแนะและกลยุทธ์ในการปัญหาที่มีอยู่


A.) ความสวยงามของบทเรียน

เราต้องมีการกระตุ้นให้เกิดมีการสื่อสารระหว่างครูกับนักเรียนและพัฒนาทักษะการ ฟัง พูด ซึ่งคอมพิวเตอร์ไม่สามารถเติมเต็มตรงนั้นได้ เพราะฉะนั้นการแปลหรือฝึกตีความของครูยังจำเป็นในการเรียนการสอน คอมพิวเตอร์ไม่สามารถทำทุกอย่างได้ครูต้องช่วยอธิบายเติมเติมด้วย นอกจากนี้มัลติมีเดียใช้ได้แต่ใช้เป็นตัวช่วยครูให้มีประสิทธิภาพในการสอน มากยิ่งขึ้น เพราะถ้าไม่นั้นครูก็เป็นเพียงแค่คนกำกับเท่านั้น

B.) หน้าจอคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทดแทนกระดานดำ

หน้าจอคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทดแทนกระดานดำ เพราะกระดานเราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมตลอดเวลาได้ ซึ่งการเรียนการสอนเด็กต้องมีคำถามที่ไม่คาดคิดอยู่ตลอดเวลา ถ้าใช้กระดานดำครูสามารถเขียนอธิบายแก้ไขเพิ่มเติมได้เพราะฉะนั้นอย่าใช้ แต่จอคอมพิวเตอร์

C.) PowerPoint ไม่สามารถใช้ในการแยกความคิดและปฏิบัติได้

ปัจจุบัน มัลติมีเดียมากที่สุดส่วนใหญ่มีบทเรียนเกี่ยวกับภาพและภาพเคลื่อนไหวจากสื่อ การสอนก่อให้เกิดผลกระทบให้นักเรียนไม่ได้เกิดการคิด อภิปรายบทเรียนต้องทันสมัยใช้แต่ PPT การตั้งคำถามของครูในการเข้าสู่บทเรียนยังจำเป็นและเป็นการกระตุ้นนักเรียนอีกด้วย

D.) เครื่องมือการเรียนการสอนแบบดั้งเดิมไม่ควรมองข้าม

มัลติมีเดียให้ความช่วยเหลือในการเรียนการสอนไม่สามารถแทนที่ด้วยเครื่องมืออื่น ๆ อีกมากมาย ดังนั้นครูควรจะเลือกสื่อที่เหมาะสมตามความต้องการของการสอนและบูรณาการที่ ใช้ในการมัลติมีเดียที่มีประเพณีอย่างหนึ่งอย่างเต็มที่และดำเนินการทำบุญ ของพวกเขามากกว่าเพียงในการแสวงหาวิธีการที่ทันสมัย

E.) เทคโนโลยีมัลติมีเดียไม่ควรมีมากเกินไป

ไม่ควรใช้สื่อมัลติมีเดียมากเกินไปเพราะถ้าใช้มากเกินเพราะถ้าใช้มากเกินไป จะทำให้เด็กเหมือนจะสนใจแต่ที่จริงแล้วเด็กนั่งดูเฉยๆ และเด็กก็ไม่ได้เกิดการเรียนรู้




สรุปได้ว่า...........

สื่อมัลติมีเดียนั้นใช้ได้เหมือนกันแต่ต้องทำให้มันเป็นแค่ตัวช่วยของครูเท่านั้นส่วนหน้าที่หลักในการจัดการห้องเรียนจะเป็นของครูที่มีชีวิตจริงๆซึ่งจะเป็นการดีกว่า